วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ลิขสิทธิ์ และสิทธิบัตร
งานสร้างสรรค์ที่มีลิขสิทธิ์ลิขสิทธิ์จะมีได้ในงานต่าง ๆ 9 ประเภทคือ
ผลงานที่ไม่ถือว่ามีลิขสิทธิ์ผลงานต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์
1.ประโยชน์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฏหมายลิขสิทธิ์ และมีสิทธิ์แต่เพี่ยวผู้เดี่ยวที่จะกระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้น หรือผลงานตามข้อใดข้อหนึ่งดังที่กล่าวไว้ข้างต้น ดังนั้นเจ้าของลิขสิทธิ์จะมีสิทธิ์ ทำซ้ำ หรือดัดแปลง จำหน่าย ให้เช่า คัดลอก เลียนแบบ ทำสำเนา การทำให้ปรากฏต่อสาธารณชน หรืออนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ์ของตนทั้งหมด หรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม
สถานที่ติดต่อเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ 1 การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ สามารถดำเนินการได้ ดังนี้
ประเภทของสิทธิบัตร
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ,อาชญากรคอมพิวเตอร์, พรบ.คอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
สำหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์เน็ต) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งคือ อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์
อาชญากรคอมพิวเตอร์
อาชญากรคอมพิวเตอร์ คือ ผู้กระทำผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นส่วนสำคัญ มีการจำแนกไว้ดังนี้
1.Novice เป็นพวกเด็กหัดใหม่(newbies)ที่เพิ่งเริ่มหัดใช้คอมพิวเตอร์มาได้ไม่นาน หรืออาจหมายถึงพวกที่เพิ่งได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.Darnged person คือ พวกจิตวิปริต ผิดปกติ มีลักษณะเป็นพวกชอบความรุนแรง และอันตรายมักเป็นพวกที่ชอบ
ทำลายทุกสิ่งที่ขวางหน้าไม่ว่าจะเป็นบุคคล สิ่งของ หรือสภาพแวดล้อม
3.Organized Crime พวกนี้เป็นกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกันทำผิดในลักษณะขององค์กรใหญ่ๆ ที่มีระบบ พวกเขา
3.Organized Crime พวกนี้เป็นกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกันทำผิดในลักษณะขององค์กรใหญ่ๆ ที่มีระบบ พวกเขา
จะใช้คอมพิวเตอร์ที่ต่างกัน โดยส่วนหนึ่งอาจใช้เป็นเครื่องหาข่าวสาร เหมือนองค์กรธุรกิจทั่วไป อีกส่วนหนึ่งก็จะใช้
เทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวประกอบสำคัญในการก่ออาชญากรรม หรือใช้เทคโนโลยีกลบเกลื่อนร่องร่อย ให้รอดพ้นจากเจ้า
หน้าที่
4.Career Criminal พวกอาชญากรมืออาชีพ เป็นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาก กลุ่มนี้น่าเป็นห่วงมากที่สุด
4.Career Criminal พวกอาชญากรมืออาชีพ เป็นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาก กลุ่มนี้น่าเป็นห่วงมากที่สุด
เนื่องจากนับวันจะทวีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยจับผิดแล้วจับผิดเล่า บ่อยครั้ง
5. Com Artist คือพวกหัวพัฒนา เป็นพวกที่ชอบความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ส่วน
5. Com Artist คือพวกหัวพัฒนา เป็นพวกที่ชอบความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ส่วน
ตน อาชญากรประเภทนี้จะใช้ความก้าวหน้า เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และความรู้ของตนเพื่อหาเงินมิชอบทางกฎหมาย
6.Dreamer พวกบ้าลัทธิ เป็นพวกที่คอยทำผิดเนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างรุ่นแรง
7.Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถลักลอบเข้าสู่ระบบได้ โดยมีวัตถุ
6.Dreamer พวกบ้าลัทธิ เป็นพวกที่คอยทำผิดเนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างรุ่นแรง
7.Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถลักลอบเข้าสู่ระบบได้ โดยมีวัตถุ
ประสงค์เข้าไปหาผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง มักเข้าไปทำลายหรือลบไฟล์ หรือทำให้คอมพิวเตอร์ใช้การไม่ได้ รวม
ถึงทำลายระบบปฏิบัติการ
พรบ.คอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ ๒๕๕๐ ซึ่งมีผลบังคับใช้แล้ว น่าจะเป็นความหวังของบรรดาเหยื่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ในการใช้เพื่อต่อสู้กับการถูกกระทำย่ำยี โดยโจรคอมพิวเตอร์ได้
๕ ฐานความผิดอาชญากรคอมพิวเตอร์
๑.แฮกเกอร์ (Hacker)
มาตรา ๕ "ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดิอน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๖ & quot;ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๗ " ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๘ "ผู้ใดกระทำด้วยประการใดๆ โดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิคส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ"
คำอธิบาย ในกลุ่มความผิดนี้ เป็นเรื่องของแฮกเกอร์ (Hacker) คือ การเจาะเข้าไปใน"ระบบ"คอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล ซึ่งระดับความร้ายแรงของโทษ ไล่ขึ้นไปจากการใช้ mail ของคนอื่น เข้าไปในระบบ หรือเผยแพร่ mail ของคนอื่น การเข้าไปใน "ข้อมูล" คอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่น จนกระทั่งการเข้าไปจารกรรมข้อมูลส่วนบุคคล โดยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ เช่น ข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลทางการค้า (Corporate Eepionage)
๒.ทำลายซอฟท์แวร์
มาตรา ๙ "ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๑๐ "ผู้ใดกระทำด้วยประการใดๆ โดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
คำอธิบาย เป็นลักษณะความผิดเช่นเดียวกับ ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ในประมวลกฎหมายอาญา แต่กฎหมายฉบับนี้หมายถึงซอฟท์แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์
๓ ปกปิด หรือปลอมชื่อส่ง Mail
มาตรา ๑๑ "ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินไม่เกินหนึ่งแสนบาท"
คำอธิบาย เป็นการส่งข้อมูล หรือ Mail โดยปกปิดหรือปลอมแปลงชื่อ รบกวนบุคคลอื่น เช่น จดหมายลูกโซ่ ข้อมูลขยะต่างๆ
๔.ผู้ค้าซอฟท์แวร์ สนับสนุนการทำผิด
มาตรา ๑๓ "ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือ ในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ - ๖ - ๗ - ๘ - ๙ - ๑๐ และ ๑๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
คำอธิบาย เป็นความผิดที่ลงโทษผู้ค้าซอฟท์แวร์ ที่นำไปใช้เป็นเครื่องมือกระทำความผิดตาม มาตรา ๕ - ๑๑
๕.ตัดต่อ เผยแพร่ ภาพอนาจาร
มาตรา ๑๖ "ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไป อาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฎเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความเสียหาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิด
คำอธิบาย เป็นเรื่องของการตัดต่อ หรือตกแต่งภาพดารา ภาพบุคคลอื่นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในลักษณะอนาจาร และเผยแพร่ไปยังบุคคลที่สาม คำว่าประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความเสียหายนั้น เพียงเห็นภาพก็น่าเชื่อแล้ว ไม่จำเป็นต้องยืนยันด้วยหลักฐาน หรือบุคคลโดยทั่วไปจะต้องเข้าใจในทันทีว่าบุคคลที่สามนั้นจะต้องได้รับความเสียหายอย่างแน่นอน จากการเผยแพร่ภาพนั้น
สำหรับผู้ที่ได้รับภาพ ไม่มีความผิด ยกเว้นจะ Forward หรือเผยแพร่ต่อ ความผิดตามมาตรานี้เป็นความผิดอันยอมความได้
ถึงแม้จะมีกฎหมายที่ตราขึ้นไว้เฉพาะความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แล้วก็ตาม แต่ความผิดในลักษณะนี้ไม่ใช่ความผิดซึ่งหน้า ซึ่งสามารถรู้ตัวผู้กระทำความผิดได้ในฉับพลัน เช่นเดียวกับความผิดอาญาโดยทั่วไป นอกจาก "รอยเท้าอิเล็กทรอนิกส์" (electronic footprints) อันได้แก่ IP หรือร่องรอยที่ทิ้งไว้ในซอฟท์แวร์
๑.แฮกเกอร์ (Hacker)
มาตรา ๕ "ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดิอน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๖ & quot;ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๗ " ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๘ "ผู้ใดกระทำด้วยประการใดๆ โดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิคส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ"
คำอธิบาย ในกลุ่มความผิดนี้ เป็นเรื่องของแฮกเกอร์ (Hacker) คือ การเจาะเข้าไปใน"ระบบ"คอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล ซึ่งระดับความร้ายแรงของโทษ ไล่ขึ้นไปจากการใช้ mail ของคนอื่น เข้าไปในระบบ หรือเผยแพร่ mail ของคนอื่น การเข้าไปใน "ข้อมูล" คอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่น จนกระทั่งการเข้าไปจารกรรมข้อมูลส่วนบุคคล โดยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ เช่น ข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลทางการค้า (Corporate Eepionage)
๒.ทำลายซอฟท์แวร์
มาตรา ๙ "ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา ๑๐ "ผู้ใดกระทำด้วยประการใดๆ โดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
คำอธิบาย เป็นลักษณะความผิดเช่นเดียวกับ ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ในประมวลกฎหมายอาญา แต่กฎหมายฉบับนี้หมายถึงซอฟท์แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์
๓ ปกปิด หรือปลอมชื่อส่ง Mail
มาตรา ๑๑ "ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินไม่เกินหนึ่งแสนบาท"
คำอธิบาย เป็นการส่งข้อมูล หรือ Mail โดยปกปิดหรือปลอมแปลงชื่อ รบกวนบุคคลอื่น เช่น จดหมายลูกโซ่ ข้อมูลขยะต่างๆ
๔.ผู้ค้าซอฟท์แวร์ สนับสนุนการทำผิด
มาตรา ๑๓ "ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือ ในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ - ๖ - ๗ - ๘ - ๙ - ๑๐ และ ๑๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
คำอธิบาย เป็นความผิดที่ลงโทษผู้ค้าซอฟท์แวร์ ที่นำไปใช้เป็นเครื่องมือกระทำความผิดตาม มาตรา ๕ - ๑๑
๕.ตัดต่อ เผยแพร่ ภาพอนาจาร
มาตรา ๑๖ "ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไป อาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฎเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความเสียหาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิด
คำอธิบาย เป็นเรื่องของการตัดต่อ หรือตกแต่งภาพดารา ภาพบุคคลอื่นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในลักษณะอนาจาร และเผยแพร่ไปยังบุคคลที่สาม คำว่าประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความเสียหายนั้น เพียงเห็นภาพก็น่าเชื่อแล้ว ไม่จำเป็นต้องยืนยันด้วยหลักฐาน หรือบุคคลโดยทั่วไปจะต้องเข้าใจในทันทีว่าบุคคลที่สามนั้นจะต้องได้รับความเสียหายอย่างแน่นอน จากการเผยแพร่ภาพนั้น
สำหรับผู้ที่ได้รับภาพ ไม่มีความผิด ยกเว้นจะ Forward หรือเผยแพร่ต่อ ความผิดตามมาตรานี้เป็นความผิดอันยอมความได้
ถึงแม้จะมีกฎหมายที่ตราขึ้นไว้เฉพาะความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แล้วก็ตาม แต่ความผิดในลักษณะนี้ไม่ใช่ความผิดซึ่งหน้า ซึ่งสามารถรู้ตัวผู้กระทำความผิดได้ในฉับพลัน เช่นเดียวกับความผิดอาญาโดยทั่วไป นอกจาก "รอยเท้าอิเล็กทรอนิกส์" (electronic footprints) อันได้แก่ IP หรือร่องรอยที่ทิ้งไว้ในซอฟท์แวร์
จริยธรรม จรรยาบรรณคอมพิวเตอร์ และความปลอดภัยของข้อมูล
จริยธรรมทางคอมพิวเตอร์
ความหมายจริยธรรมคอมพิวเตอร์
เป็นหลักเกณฑ์ที่ประชาชนตกลงร่วมกันเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน สำหรับตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิด จริยธรรม เช่น
1. การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำคาญ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4. การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
เป็นหลักเกณฑ์ที่ประชาชนตกลงร่วมกันเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน สำหรับตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิด จริยธรรม เช่น
1. การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำคาญ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4. การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
โดยทั่วไปเมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3. ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
สารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3. ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
ในประเทศไทยได้มีการร่างกฎหมายทั้งสิ้น 6 ฉบับ คือ
1. กฏหมายเกี่ยวกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
2. กฏหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. กฏหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
4. กฏหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
5. กฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
6. กฎหมายลำดับรอง รัฐธรรมนูญ มาตรา 78 หรือกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ
ต่อมาได้มีการรวมเอากฎหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายลายมือชื่อ -อิเล็กทรอนิกส์เป็นฉบับเดียวกันเป็นพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2545 แต่ในปัจจุบันยังไม่ได้นำมาใช้สมบูรณ์แบบ เนื่องจากยังไม่มีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนกฏหมายอีก 4 ฉบับที่เหลือ ขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินการ (ข้อมูล ณ ตุลาคม 2546)
จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์
จรรยาบรรณต่อตนเอง
จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์
จรรยาบรรณต่อตนเอง
1 มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง ทำหน้าที่และใช้ชีวิตตามหลักธรรมาภิบาล
1.1 ประกอบอาชีพนักคอมพิวเตอร์ด้วยความ สุจริต ซื้อสัตย์ มีความยุติธรรม ใฝ่หาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาตนเอง และความรับผิดชอบ ซึ่งจะเพิ่มความสามารถจริยธรรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ให้กับตัวเราเอง
1.2 ผู้ที่ประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์ ต้องมีความตั้งใจ มีความขยันและอดทนในการทำงาน เพื่อให้เกิดความสำเร็จ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน
2. ปฏิบัติตนให้อยู่ในความถูกต้อง
2.1 ไม่ทำการ Copy ผลงานของผู้อื่นที่ที่เรียกกันว่าระเมิดลิขสิทธิ์ไม่ว่าจะเป็นลายลักอักษรหรือ Software ต่างๆ
2.2 ให้ความเค้ารพนับถือผู้ร่วมงาน ไห้เกียติซึ่งกันและกัน และมีความเอื้อเฝิ้อเผื่อแผ่
2.3 ดูและรักษาความผูกพันของผู้ร่วมงานด้วยกันเอง
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
3. ไม่กระทำสิ่งใดๆที่ทำให้วิชาชีพของตนเองนั้นเสื่อมเสีย
3.1 ใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาอย่างสร้างสรรไม่ทำรายผู้อื่นหรือทำให้ผู้อื่นนั้นต้องเดือดร้อน
3.2 ไม่ดูหมิ่นอาชีพอื่นๆ
3.3 ให้ความร่วมมือกับส่งเสริมวิชาชีพของตนเอง เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนา
จรรยาบรรณต่อสังคม
4. เป็นตัวอย่างที่ดีในการประกอบอาชีพสายงานคอมพิวเตอร์เพื่อเป็นตัวอย่างของสังคม
4.1 ไม่เรียกร้องหรือรับสิ่งของทรัพย์สินใดที่ได้รับมาอย่างมิชอบ
4.2 ไม่ใช้อำนาจหรือวิชาชีพเอื้ออำนวยให้ประโยชน์แก่ตนเองหรือบุคคลอื่นโดยมิชอบ
4.3 ไม่ใช้วิชาชีพความรู้ต่างๆเพื่อทำการล่อลวงหรือหลอกลวงผู้อื่นจนก่อให้เกิดความเสื่อมเสี่ยหรือเสี่ยหาย
1.1 ประกอบอาชีพนักคอมพิวเตอร์ด้วยความ สุจริต ซื้อสัตย์ มีความยุติธรรม ใฝ่หาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาตนเอง และความรับผิดชอบ ซึ่งจะเพิ่มความสามารถจริยธรรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ให้กับตัวเราเอง
1.2 ผู้ที่ประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์ ต้องมีความตั้งใจ มีความขยันและอดทนในการทำงาน เพื่อให้เกิดความสำเร็จ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน
2. ปฏิบัติตนให้อยู่ในความถูกต้อง
2.1 ไม่ทำการ Copy ผลงานของผู้อื่นที่ที่เรียกกันว่าระเมิดลิขสิทธิ์ไม่ว่าจะเป็นลายลักอักษรหรือ Software ต่างๆ
2.2 ให้ความเค้ารพนับถือผู้ร่วมงาน ไห้เกียติซึ่งกันและกัน และมีความเอื้อเฝิ้อเผื่อแผ่
2.3 ดูและรักษาความผูกพันของผู้ร่วมงานด้วยกันเอง
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
3. ไม่กระทำสิ่งใดๆที่ทำให้วิชาชีพของตนเองนั้นเสื่อมเสีย
3.1 ใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาอย่างสร้างสรรไม่ทำรายผู้อื่นหรือทำให้ผู้อื่นนั้นต้องเดือดร้อน
3.2 ไม่ดูหมิ่นอาชีพอื่นๆ
3.3 ให้ความร่วมมือกับส่งเสริมวิชาชีพของตนเอง เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนา
จรรยาบรรณต่อสังคม
4. เป็นตัวอย่างที่ดีในการประกอบอาชีพสายงานคอมพิวเตอร์เพื่อเป็นตัวอย่างของสังคม
4.1 ไม่เรียกร้องหรือรับสิ่งของทรัพย์สินใดที่ได้รับมาอย่างมิชอบ
4.2 ไม่ใช้อำนาจหรือวิชาชีพเอื้ออำนวยให้ประโยชน์แก่ตนเองหรือบุคคลอื่นโดยมิชอบ
4.3 ไม่ใช้วิชาชีพความรู้ต่างๆเพื่อทำการล่อลวงหรือหลอกลวงผู้อื่นจนก่อให้เกิดความเสื่อมเสี่ยหรือเสี่ยหาย
ความปลอดภัยของข้อมูล
ข้อมูลที่ดีเป็นข้อมูลที่มีค่ามีราคา สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมากต่อกิจการขององค์กร และในมุมกลับกันอาจก่อให้เกิดโทษต่อองค์กรหรือบุคคลผู้ให้ข้อมูล ถ้าข้อมูลตกลงไปอยู่ในมือผู้ไม่ประสงค์ดี ดังนั้นความปลอดภัยของข้อมูล จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องตระหนัก ความปลอดภัยของข้อมูล (data security) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันไม่ให้ข้อมูลถูกทำลาย การรักษาความลับของข้อมูล และการป้องกันไม่ให้ข้อมูลถูกทำลาย การรักษาความลับของข้อมูล และการป้องกันการกระทำการทุจริตต่อข้อมูล ความไม่ปลอดภัยของข้อมูลมักมีสาเหตุจาก
• ความผิดพลาดของระบบ ซึ่งอาจมีสาเหตุจากตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์เกิดขัดข้องในระหว่างการประมวลผลข้อมูล ซึ่งอาจทำให้ข้อมูลเกิดสูญเสียได้ นอกจากนี้อาจมีสาเหตุจากโปรแกรมที่ใช้ในการประมวลผลยังมีข้อผิดพลาดบางจุด ซึ่งอาจทำให้ข้อมูลมีความผิดพลาดหรือสูญเสียได้เช่นกัน
• อุบัติเหตุ เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ทำให้ข้อมูลที่เก็บอยู่สูญเสียได้
• บุคคลอาจทำให้ข้อมูลสูญเสีย เช่น มีการสั่งลบข้อมูล หรือบันทึกข้อมูลทับของเดิม หรือบุคคลอาจมีเจตนาร้ายต้องการทำให้ข้อมูลสูญเสีย เนื่องจากความโกรธแค้นจงใจทำลายข้อมูล
• การขโมยข้อมูลซึ่งเป็นความลับเพื่อนำไปขายหรือให้คู่แข่ง ซึ่งสามารถทำได้ง่าย โดยแอบสำเนาลงบนแผ่นบันทึก
• การกระทำทุจริตต่อข้อมูล เช่น มีการแก้ไขข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเงิน เพื่อประโยชน์ของตัวเองหรือมีผู้รับจ้างให้กระทำการทุจริต
• สาเหตุอื่น ๆ เช่น ความร้อนชื่น ฝุ่นละออง และสนามแม่เหล็ก
การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่อาจถูกทำลาย หรือเสียหายด้วยสาเหตุต่าง ๆ ดังกล่าวนั้นอาจทำได้ดังนี้
• การรักษาความปลอดภัยของอุปกรณ์ระบบคอมพิวเตอร์
• การทำสำเนาข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลอยู่ในแผ่นบันทึกอาจทำสำเนา ข้อมูลทั้งแผ่นโดยใช้คำสั่ง copy แต่ถ้าข้อมูลอยู่ในจานแม่เหล็กชนิดแข็งหรือกรณีที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมากจะทำ สำเนาโดยการใช้คำสั่ง backup ลงบนแผ่นบันทึกหรือในเทปแม่เหล็ก
• การรักษาความลับของข้อมูล มาตรการแรกในการป้องกันคือ การควบคุมการเข้าไปใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดว่าใครบ้างที่สามารถเข้าไปใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ มาตรการต่อมาคือ การกำหนดรหัสผ่าน (password) เพื่อผ่านเข้าไปใช้โปรแกรมหรือการเข้าถึงข้อมูล นอกจากนี้อาจจะมีการกำหนดขอบเขตเฉพาะแฟ้มข้อมูลเฉพาะแฟ้มบุคคลเฉพาะบุคคล ไม่มีสิทธิไปใช้หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลของแฟ้มรายได้เป็นต้น
• ความผิดพลาดของระบบ ซึ่งอาจมีสาเหตุจากตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์เกิดขัดข้องในระหว่างการประมวลผลข้อมูล ซึ่งอาจทำให้ข้อมูลเกิดสูญเสียได้ นอกจากนี้อาจมีสาเหตุจากโปรแกรมที่ใช้ในการประมวลผลยังมีข้อผิดพลาดบางจุด ซึ่งอาจทำให้ข้อมูลมีความผิดพลาดหรือสูญเสียได้เช่นกัน
• อุบัติเหตุ เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ทำให้ข้อมูลที่เก็บอยู่สูญเสียได้
• บุคคลอาจทำให้ข้อมูลสูญเสีย เช่น มีการสั่งลบข้อมูล หรือบันทึกข้อมูลทับของเดิม หรือบุคคลอาจมีเจตนาร้ายต้องการทำให้ข้อมูลสูญเสีย เนื่องจากความโกรธแค้นจงใจทำลายข้อมูล
• การขโมยข้อมูลซึ่งเป็นความลับเพื่อนำไปขายหรือให้คู่แข่ง ซึ่งสามารถทำได้ง่าย โดยแอบสำเนาลงบนแผ่นบันทึก
• การกระทำทุจริตต่อข้อมูล เช่น มีการแก้ไขข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเงิน เพื่อประโยชน์ของตัวเองหรือมีผู้รับจ้างให้กระทำการทุจริต
• สาเหตุอื่น ๆ เช่น ความร้อนชื่น ฝุ่นละออง และสนามแม่เหล็ก
การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่อาจถูกทำลาย หรือเสียหายด้วยสาเหตุต่าง ๆ ดังกล่าวนั้นอาจทำได้ดังนี้
• การรักษาความปลอดภัยของอุปกรณ์ระบบคอมพิวเตอร์
• การทำสำเนาข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลอยู่ในแผ่นบันทึกอาจทำสำเนา ข้อมูลทั้งแผ่นโดยใช้คำสั่ง copy แต่ถ้าข้อมูลอยู่ในจานแม่เหล็กชนิดแข็งหรือกรณีที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมากจะทำ สำเนาโดยการใช้คำสั่ง backup ลงบนแผ่นบันทึกหรือในเทปแม่เหล็ก
• การรักษาความลับของข้อมูล มาตรการแรกในการป้องกันคือ การควบคุมการเข้าไปใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดว่าใครบ้างที่สามารถเข้าไปใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ มาตรการต่อมาคือ การกำหนดรหัสผ่าน (password) เพื่อผ่านเข้าไปใช้โปรแกรมหรือการเข้าถึงข้อมูล นอกจากนี้อาจจะมีการกำหนดขอบเขตเฉพาะแฟ้มข้อมูลเฉพาะแฟ้มบุคคลเฉพาะบุคคล ไม่มีสิทธิไปใช้หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลของแฟ้มรายได้เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)